การทำลายสถิติการแข่งขันกีฬาโอลิมปิคให้กับประเทศไทย ณ กรุงเอเธนส์ 2004 โดย มนัส บุญจำนง
ประเทศไทยได้ 2 เหรียญในรายกายแข่งขันกีฬาชกมวยโอลิมปิคที่แอทแลนต้าในปี 1996 และที่ซิดนีย์ ในปี 2000 แต่เอเธนส์เป็นปีแห่งความโดดเด่น ในปี 2004 มนัส บุญจำนง ได้เป็นนักชกเหรียญทองโอลิมปิค คนที่ 3 ต่อจาก สมรักษ์ คำสิงห์และ วิจารณ์ พลฤทธิ์
22 มี.ค. 2564 | #บทความ
วิชัย ราชานนท์ เป็นหนึ่งในหกนักชกเหรียญทอง รายการเอเชียน บ็อกซิ่ง แชมป์เปี่ยนชิพ 1991 กรุงเทพฯ
กรุงเทพมหานครเป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันรายการเอเชียนบ็อกซิ่ง แชมป์เปี่ยนชิพ ครั้งที่ 15 ในปี 1991 ซึ่งถือว่าเป็นความสำเร็จอันดับต้นๆ ของประเทศ ไทยทำได้ 6 เหรียญทองในปี 1991
22 มี.ค. 2564 | #บทความ
สมรส คำสิงห์ ชนะรุ่น ไลท์ ฟลายเวท ณ เมืองทาชเคนท์ ในปี 1995 รายการ เอเชียน บ็อกซิ่ง แชมป์เปี่ยนชิพ
ทาชเคนท์ เมืองหลวงของประเทศอุซเบกิสถาน เป็นเจ้าภาพในการจัดการแข่งขัน รายการเอเชียน บ็อกซิ่ง แชมป์เปี่ยนชิพ 1995 ซึ่งเป็นรายการแข่งขันคัดเลือกโอลิมปิค ปี 1996 ที่แอทแลนต้า นักชกไทยรุ่นไลท์ฟลายเวท 48 กิโลกรัม สมรส คำสิงห์ เอาชนะคู่แข่งระดับเอเชียทั้งหมดของเขาที่ทาชเคนท์ และได้เหรียญทอง
22 มี.ค. 2564 | #บทความ
พ.ต.สมจิตร จงจอหอ นักชกเหรียญทองโอลิมปิคคนที่สี่ของไทย ณ กรุงปักกิ่ง ปี 2008
ความประทับใจอีกครั้งของประเทศไทยในปี 2008 ณ กรุงปักกิ่ง กับกีฬาโอลิมปิค และยังคงเป็นชุดเหรียญที่น่าตื่นเต้น ซึ่งเริ่มตั้งแต่ปี 1988 ประเทศไทยได้ 2 เหรียญในการแข่งขันกีฬามวยสากล ณ เมืองแอทแลนต้า ในปี 1996 และรายการกีฬาโอลิมปิค ณ เมืองซิดนี่ย์ ในปี 2000 และยังอีก 1 เหรียญ ณ กรุงเอเธนส์ ในปี 2004
29 ม.ค. 2564 | #บทความ